หลักการเบื้องต้นทางวงจรไฟฟ้า 1 (Fundamental of Electric Circuits)
หนังสือเล่มนี้นับเป็นหนังสือที่ใหม่และทันสมัย เหมาะสำหรับนิสิตนักศึกษาที่เรียนวิชา วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า โดยครอบคลุมเนื่อหาทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท โดยที่ผู้เขียนได้เรียงลำดับเนื้อหาจากง่าย ๆ ไปหายาก รวมทั้งมีภาพประกอบคำอธิบาย และสรุป ในตอนท้ายของแต่ละบทยังมีแบบฝึกหัดจำนวนมาก
สารบัญ
บทที่ 1 แนวคิดเบื้องต้น
1.1 บทนำ
1.2 ระบบหน่วยต่าง ๆ
1.3 ประจุและกระแสไฟฟ้า
1.4 แรงดันไฟฟ้า
1.5 กำลังและพลังงาน
1.6 อุปกรณ์วงจร
1.7 การประยุกต์
1.8 การแก้ปัญหา
1.9 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 2 กฎพื้นฐาน
2.1 บทนำ
2.2 กฎของโอห์ม
2.3 ปมหรือโหนด แขนงวงจร และวงจรหรือลูป
2.4 กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์
2.5 ตัวต้านทานต่ออนุกรมและการแบ่งแรงดันไฟฟ้า
2.6 ตัวต้านทานต่อขนานและการแบ่งกระแส
2.7 การแปลงระหว่างวงจรแบบวายกับแบบเดลตา
2.8 การประยุกต์
2.9 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 3 วิธีการวิเคราะห์
3.1 บทนำ
3.2 การวิเคราะห์ทางโหนด
3.3 การวิเคราะห์ทางโหนดสำหรับวงจรที่มีแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า
3.4 การวิเคราะห์ทางเมซ
3.5 การวิเคราะห์ทางเมซสำหรับวงจรที่มีแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า
3.6 การวิเคราะห์ทางโหนดและเมซโดยการตรวจดูวงจร
3.7 การวิเคราะห์ทางโหนดและเมซ
3.8 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยโปรแกรม PSpice
3.9 การประยุกต์ : วงจรทรานซิสเตอร์ทาง DC
3.10 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
บทที่ 4 ทฤษฎีทางวงจร
4.1 บทนำ
4.2 คุณสมบัติของความเป็นเชิงเส้น
4.3 หลักการซ้อนทับ
4.4 การแปลงแหล่งจ่ายไปมา
4.5 ทฤษฎีของเธวินิน
4.6 ทฤษฎีของนอร์ตัน
4.7 การพิสูจน์หาที่มาของทฤษฎีของเธวินินและนอร์ตัน
4.8 การส่งผ่านกำลังงานสูงสุด
4.9 ตรวจสอบทฤษฎีทางวงจรด้วย PSpice
4.10 การประยุกต์ใช้งาน
4.11 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 5 โอเปอเรชันนอล แอมพลิไฟเออร์
5.1 บทนำ
5.2 โอเปอเรชันนอลแอมพลิไฟเออร์
5.3 ออปแอมป์ในอุดมคติ
5.4 วงจรขยายสัญญาณกลับมุมเฟส
5.5 วงจรขยายสัญญาณไม่กลับมุมเฟส
5.6 วงจรขยายสัญญาณผลบวก
5.7 วงจรขยายสัญญาณผลต่าง
5.8 วงจรออปแอมป์ที่ต่อกันแบบคาสเคด
5.9 การวิเคราะห์วงจรออปแอมป์โดยใช้ PSpice
5.10 การประยุกต์ต่าง ๆ
5.11 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 6 ตัวเก็บประจุไฟฟ้าและตัวเหนี่ยวนำแม่เหล็ก
6.1 บทนำ
6.2 ตัวเก็บประจุ
6.3 ตัวเก็บประจุต่อแบบอนุกรมและขนาน
6.4 ตัวเหนี่ยวนำแม่เหล็ก
6.5 ตัวเหนี่ยวนำแม่เหล็กที่ต่ออนุกรมและขนาน
6.6 การประยุกต์
6.7 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 7 วงจรอันดับที่หนึ่ง
7.1 บทนำ
7.2 วงจร RC ที่ปราศจากแหล่งจ่ายสัญญาณ
7.3 วงจร RL ที่ปราศจากแหล่งจ่ายสัญญาณ
7.4 ฟังก์ชันภาวะเอกฐาน
7.5 การตอบสนองแบบเป็นขั้นของวงจร RC
7.6 การตอบสนองแบบเป็นขั้นของวงจร RL
7.7 วงจรออปแอมป์อันดับที่หนึ่ง
7.8 การวิเคราะห์การตอบสนองฉับพลันด้วย PSpice
7.9 การประยุกต์ต่าง ๆ
7.10 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 8 วงจรอันดับที่สอง
8.1 บทนำ
8.2 การหาค่าเริ่มต้นและค่าสุดท้าย
8.3 วงจร RLC ต่อแบบอนุกรมแบบไร้แหล่งจ่าย
8.4 วงจร RLC แบบขนานที่ไม่มีแหล่งจ่าย
8.5 การตอบสนองเนื่องจากสัญญาณเป็นขั้นสำหรับวงจร RLC แบบอนุกรม
8.6 การตอบสนองเนื่องจากสัญญาณเป็นขั้นสำหรับวงจร RLC แบบขนาน
8.7 วงจรอันดับที่สองแบบทั่วไป
8.8 วงจรออปแอมป์อันดับที่สอง
8.9 การใช้ PSpice วิเคราะห์วงจร RLC
8.10 ความเป็นสภาวะคู่
8.11 การประยุกต์ใช้งาน
8.12 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 9 สัญญาณรูปไซน์และเฟสเซอร์
9.1 บทนำ
9.2 สัญญาณรูปไซน์
9.3 เฟสเซอร์
9.4 ความสัมพันธ์ทางเฟสเซอร์สำหรับอุปกรณ์วงจรต่าง ๆ
9.5 อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์
9.6 กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ในโดเมนของความถี่
9.7 การรวมอิมพีแดนซ์
9.8 การประยุกต์ต่าง ๆ
9.9 บทสรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
คำถามทบทวนความเข้าใจ
บทที่ 10 การวิเคราะห์วงจรที่สภาวะคงตัวทาง AC
10.1 บทนำ
10.2 การวิเคราะห์ทางโหนด
10.3 การวิเคราะห์ทางเมซ
10.4 ทฤษฎีการซ้อนทับ
10.5 การแปลงแหล่งจ่ายสัญญาณ
10.6 วงจรสมมูลแบบเธวินินและแบบนอร์ตัน
10.7 วงจรออปแอมป์ทาง AC
10.8 การวิเคราะห์ทาง ac โดยใช้ PSpice
10.9 การประยุกต์ใช้งาน
10.10 สรุป
คำถามทบทวน
คำถามท้ายบท
ภาคผนวก A สมการหลายตัวแปรและการแปลงเมทริกซ์ผกผัน
ภาคผนวก B จำนวนเชิงซ้อน
ภาคผนวก C สูตรต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
This website uses cookies (Learn more) and has a privacy policy (Learn more).