การศึกษาการทำงาน-Work Study
หนังสือ การศึกษางานในอุตสาหกรรม (Industrial Work Study) เล่มนี้นับเป็นตําราที่ใหม่
ทันสมัย โดยเขียนขึ้นจากประสบการณ์ในการสอนวิชานี้มาอย่างยาวนาน ได้ค้นคว้า
พัฒนา และปรับปรุงหนังสือเล่มนี้มาแล้วหลายครั้ง ด้วยลักษณะที่โดเด่นในการเรียบเรียง
อธิบาย ลําดับเนื้อหาทางทฤษฎี พร้อมยกตัวอย่าง แผนภูมิ แบบฟอร์ม ภาพประกอบ
จํานวนมาก ซึ่งจะครอบคลุมเนื้อหาวิชา “การศึกษางาน” หรือวิชา “ การศึกษาการ
เคลื่อนไหวและเวลา” ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยเฉพาะสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ทั้ง
ในระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี นอกจากนี้แล้วผู้เขียนยังมีโจทย์ปัญหา เพื่อฝึกทักษะและ
สร้างความเข้าใจกับผู้เรียนได้อย้างชัดเจน
จุดเด่นของหนังสือเล่มนี้
สารบัญ
จากสำนักพิมพ์
คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 การเพิ่มผลผลิต
PRODUCTIVITY
1. ผลิตภาพ (Productivity)
2. ความสำคัญของการเพิ่มผลิตภาพ
3. การวัดผลิตภาพ
4. แนวทางในการเพิ่มผลิตภาพ
5. เหตุที่ทำให้ผลผลิตธุรกิจอุตสาหกรรมตกต่ำ
6. สาเหตุที่ทำให้อัตราผลผลิตต่ำ
7. ความสัมพันธ์ของการศึกษางานกับการเพิ่มผลผลิต
8. ประโยชน์ของการใช้เทคนิคการศึกษางานในการเพิ่มผลิตภาพ
แบบฝึกหัดบทที่ 1
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
DEFINITION AND SCOPE OF WORK STUDY
1. นิยาม
2. ขอบเขตของการศึกษา
3. การนำไปใช้งาน
แบบฝึกหัดบทที่ 2
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
HISTORY OF WORK STUDY
1. ผลงานของ Frederick W. Taylor
1. หลักการของ Scientific Management
2. Time Study
2. การศึกษาการเคลื่อนไหวโดย Gilbreths
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
GENERAL PROBLEM-SOLVING PROCESS
1. การตั้งนิยามของปัญหา
2. การวิเคราะห์ปัญหา
3. การพิจารณาหาลู่ทางที่ดีที่สุด
4. ประเมินข้อเปรียบเทียบต่าง ๆ เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด
5. ให้คำแนะนำและติดตามผล
แบบฝึกหัดบทที่ 4
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
WORK STUDY OVERVIEW
1. ข้อเด่นของการศึกษางาน
2. สาเหตุที่ต้องมีการปรับปรุงงาน
3. องค์ประกอบของงาน
4. ปรัชญาของการศึกษางาน
5. ประโยชน์ของการศึกษางาน
แบบฝึกหัดบทที่ 5
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
NEW PROCESS DESIGN
1. การวางแผน
2. การเตรียมการผลิต
3. การผลิต
4. ประเภทของผังโรงงาน
1) การวางผังแบบที่ตั้งคงที่
2) การวางผังตามกระบวนการ
3) การวางผังแบบผลิตภัณฑ์
5. วัตถุประสงค์ของการวางผังโรงงานในการพัฒนาวิธีการทำงาน
6. การพัฒนาการวางผังโรงงาน
7. การขนถ่ายวัสดุ
7.1 การขจัดหรือลดระยะทางในการขนถ่ายวัสดุ
7.2 การปรับปรุงประสิทธิภาพของการขนถ่ายวัสดุ
7.3 เลือกใช้อุปกรณ์ในการขนถ่ายที่ถูกต้อง
ก. สายพานลำเลียง (Conveyors)
ข. รถบรรทุก (Trucks)
ค. รอกรางและรอกชัก (Rail and Hoist)
ง. อุปกรณ์บรรจุ (Containers)
แบบฝึกหัดบทที่ 6
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
METHODS ANALYSIS
1. นิยาม
2. ขั้นตอนของการศึกษา
2.1 เลือกงานที่จะศึกษา
2.2 การบันทึกวิธีการทำงาน
2.3 การวิเคราะห์
2.4 การพัฒนาวิธีการทำงานที่ดีกว่า
2.4.1ขจัดงานที่ไม่จำเป็น
2.4.2รวมขั้นตอนการปฏิบัติงานเข้าด้วยกัน
2.4.3การสลับสับเปลี่ยนลำดับการปฏิบัติงาน
2.2.4ทำงานให้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างของการปรับปรุงงาน
2.5 การกำหนดเป็นมาตรฐาน
2.6 การนำไปใช้
2.7 การดำรงรักษา
3. การวัดผลการปรับปรุงงาน
4. ระดับการปรับปรุงงาน
แบบฝึกหัดบทที่ 7
บทที่ 8 การวิเคราะห์กระบวนการ
PROCESS ANALYSIS
1. แผนภูมิกระบวนการ (Process Charts)
2. แผนภูมิกระบวนการทำงาน (Operation Process Charts)
3. แผนภูมิกระบวนการไหล (Flow Process Charts)
4. แผนภูมิการประกอบ (Assembly Process Chart)
5. แผนภูมิผลิตภัณฑ์พหุคูณ (Multi-Product Process Chart)
6. แผนภูมิการเดินทาง (Travel Chart)
แบบฝึกหัดบทที่ 8
บทที่ 9 การวิเคราะห์กิจกรรม
ACTIVITY ANALYSIS
1. แผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ (Multiple Activity Chart)
1.1 Man-Machine Chart
แนวทางการวิเคราะห์
ประโยชน์ใช้งานของแผนภูมิคนกับเครื่อง
1.2 Gang Process Chart
1.3 การคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่เหมาะสม
แบบฝึกหัดบทที่ 9
บทที่ 10 การวิเคราะห์การปฏิบัติงาน
OPERATION ANALYSIS
1. แผนภูมิการปฏิบัติงาน (Operation Chart)
2. การพัฒนาวิธีการใหม่
แบบฝึกหัดบทที่ 10
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
MICROMOTION STUDY
1. Micromotion Study คืออะไร
2. จุดประสงค์ของการศึกษา Micromotion
3. Memomotion Study
4. Cyclegraph และ Chronocyclegraph
5. การเคลื่อนพื้นฐานของมือ (Fundamental of Hand Motions)
1. Search (Sh) หา
2. Select (St) เลือก
3. Grasp (G) จับ
4. Transport Empty (TE) เคลื่อนมือเปล่า
5. Transport Loaded (TL) การเคลื่อนวัตถุ
6. Hold (H) ถือ
7. Release Load (RL) ปล่อยวัตถุ
8. Position (P) จัด
10. Inspect (I) ตรวจ
11. Assemble (A) ประกอบ
12. Disassemble (DA) ถอด
13. Use (U) ใช้
14. Unavoidable Delay (UD) การล่าช้าซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้
15. Avoidable Delay (AD) การล่าช้าซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงหรือควบคุมได้
16. Plan (Pn) การวางแผน
17. Rest for Overcoming Fatigue (R) การเสียเวลาอันเนื่องมากจากการ พักเหนื่อย
6. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา Micromotion
7. ขั้นตอนในการถ่ายทำภาพยนตร์
8. การวิเคราะห์
แบบฝึกหัดบทที่ 11
บทที่ 12 หลักการของเศรษฐศาสตร์การเคลื่อนไหว
PRINCIPLES OF MOTION ECONOMY
1. หลักเศรษฐศาสตร์กลุ่มที่เกี่ยวกับการใช้โครงร่างของมนุษย์
2. หลักเศรษฐศาสตร์กลุ่มที่เกี่ยวกับการจัดตำแหน่งของสถานที่ปฏิบัติงาน
3. หลักเศรษฐศาสตร์กลุ่มที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือ
4. หลักการของการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง
แบบฝึกหัดบทที่ 12
บทที่ 13 การกำหนดเป็นมาตรฐาน
STANDARDIZATION
1. การกำหนดเป็นมาตรฐาน
สรุปขั้นตอนในการติดตั้งวิธีการที่ปรับปรุงแล้ว
2. การติดตามผล
แบบฝึกหัดบทที่ 13
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
TIME STUDY
1. ความสำคัญของการศึกษาเวลา
2. นิยาม
3. เทคนิคของการวัดงาน
4. องค์ประกอบของเวลามาตรฐาน
5. ประโยชน์ของการศึกษาเวลา
แบบฝึกหัดบทที่ 14
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
DIRECT TIME STUDY
1. เครื่องมือ
2. ขั้นตอนการศึกษาโดยตรง
2.1 การเลือกงานที่จะทำการศึกษา
2.2. แบ่งขั้นตอนการทำงานออกเป็นงานย่อย
2.3. คำนวณหาจำนวนรอบในการจับเวลา
แบบฝึกหัดบทที่ 15
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
DETERMINING THE RATING FACTOR
1. การสังเกตและการบันทึกเวลา
2. การคำนวณหาค่าเวลาตัวแทน
ก. วิธีค่าเฉลี่ย
ข. วิธีฐานนิยม
3. นิยาม
4. ระบบของการประเมินอัตราความเร็ว
5. การฝึกประเมินความเร็ว
6. การนำค่าปรับอัตราความเร็วไปใช้
7. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วในการทำงาน
แบบฝึกหัดบทที่ 16
บทที่ 17 การหาค่าเผื่อต่าง ๆ และการคำนวณเวลามาตรฐาน
DETERMINING ALLOWANCES AND STANDARD TIME
1. การกำหนดค่าเผื่อ
1.1 เวลาเผื่อสำหรับส่วนบุคคล
1.2 เวลาเผื่อสำหรับความเครียด
1.3 เวลาเผื่อสำหรับความล่าช้า
2. การใช้ค่าเวลาเผื่อในการหาเวลามาตรฐาน
3. เวลาเผื่อเมื่อมีการทำงานร่วมกับเครื่องจักร
4. การตรวจสอบเวลามาตรฐาน
ตัวอย่างของการศึกษาเวลา
1. การแบ่งงานย่อย
2. การบันทึกข้อมูล
3. คำนวณค่าเวลาปกติ ดังนี้
4. ใช้ตารางวิเคราะห์ค่าเผื่อ ดังนี้
5. คำนวณหาค่าความแม่นยำของข้อมูลโดยใช้สูตร
6. นำข้อมูลทั้งหมดไปสรุปลงในใบสรุปข้อมูลเวลา
แบบฝึกหัดบทที่ 17
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
PREDETERMINED TIME SYSTEM
1. ประโยชน์ของการศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน (PTS)
2. Methods-Time Measurement (MTM)
ตัวอย่างในการสร้างตาราง
หน่วยของเวลา (Time Unit)
ความแม่นยำของระบบ MTM
รายละเอียดของตาราง
2.1 REACH เอื้อม
2.2 MOVE เคลื่อน
2.3 TURN หมุน
2.4 GRASP หยิบจับ
2.5 POSITION เล็งตำแหน่ง
2.6 RELEASE ปล่อย
2.7 DISENGAGE การถอด
2.8 EYE TIMES การใช้สายตา
2.9 BODY, LEG AND FOOT MOTIONS
2.10 SIMULTANEOUS MOTIONS
อักษรย่อในการวิเคราะห์ระบบ MTM
การนำ MTM ไปใช้
วิจารณ์ระบบ MTM
3. Master Standard Data (MSD)
การสร้างตาราง MSD
4. Work Areas
5. ความยากง่ายของการควบคุม (Degree of Control)
5.1 GET
5.2 PLACE ไปวาง
5.3 Weight Allowance BPWA
5.4 ตารางการเคลื่อนพื้นฐานอื่น ๆ (Basic Elemental Times)
5.5 ตารางการเคลื่อนของร่างกาย (Body Motions)
6. สรุปการเปรียบเทียบระบบ MTM และ MSD
แบบฝึกหัดบทที่ 18
บทที่ 19 การสุ่มงาน
WORK SAMPLING
1. ที่มา
2. ขยายความของการสุ่มงาน
3. เทคนิคของการสุ่มงาน
4. ประโยชน์ของการสุ่มงาน
5. ข้อได้เปรียบของการศึกษาเวลาจากการสุ่มงาน
6. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
7. การคำนวณหาจำนวนข้อมูลที่เหมาะสมในการสุ่ม
8. การคำนวณหาค่าความแม่นยำของข้อมูล
9. การสร้างตารางเวลาจากตารางเลขสุ่ม
10. ขั้นตอนในการสุ่มงาน
11. การหาเวลามาตรฐานจากการสุ่มงาน
12. การนำเทคนิคการสุ่มงานไปใช้เพื่อแก้ปัญหา
13. การเปรียบเทียบ Work sampling กับ Direct time Study
แบบฝึกหัดบทที่ 19
บทที่ 20 ข้อมูลเวลาพื้นฐาน
STANDARD TIME DATA
1. หลักการในการสร้างตารางข้อมูลเวลามาตรฐานฐาน
2. ประโยชน์ของการสร้างตารางข้อมูลเวลาพื้นฐาน
3. การสร้างตารางข้อมูลเวลามาตรฐาน
4. ตัวอย่างของการใช้เวลาจากตารางข้อมูลเวลามาตรฐาน
5. การใช้ค่า Setup Time
6. การหาเวลาของงานย่อยแปรผัน
7. การนำหลักการของตารางเวลามาตรฐานไปใช้
แบบฝึกหัดบทที่ 20
บทที่ 21 ความเครียดและการทำงาน
FATIGUE
1. ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความเครียด
1.1 ความเหนื่อย
1.2 การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
1.3 ผลงานลดถอยลง
2. องค์ประกอบซึ่งมีผลต่อระดับของความเครียด
2.1 จำนวนชั่วโมงทำงานต่อวัน
2.2 เวลาพักเหนื่อย
2.3 สภาพการทำงาน
2.4 ชนิดของงานที่ทำ
3. สภาพทางจิตใจซึ่งมีผลต่อความเครียด
4. เวลาเผื่อสำหรับความเครียด
แบบฝึกหัดบทที่ 21
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
INCENTIVE SCHEMES
1. ความหมายของค่าแรงจูงใจ
2. ความสัมพันธ์ของการศึกษาการทำงานกับการจ่ายเงินจูงใจ
3. ผลจากการใช้ระบบจ่ายเงินรางวัล
4. องค์ประกอบซึ่งมีผลต่อการใช้ระบบการจ่ายเงินรางวัล
5. แผนการจ่ายเงินจูงใจ
5.1 วิธี "Daywork"
5.2 วิธี "Piecework"
5.3 แผนการจ่ายเงินรางวัลเมื่อ x = 1.0 ในอัตราเส้นตรง แต่ค่า p < 1.0
5.4 แผนการจ่ายรางวัล เมื่อ x < 1.0 โดยค่า p = 1.0
5.5 จ่ายรางวัล เมื่อ x < 1.0 แต่ค่า p น้อยกว่า 1.0
5.5 จ่ายรางวัล เมื่อ x < 1.0 แต่ค่า p น้อยกว่า 1.0
5.6 จ่ายรางวัล เมื่อ x = 1.0 และ % ของค่าตอบแทนที่
6. การวัดผลผลิต
7. ตัวอย่างของแผนการจ่ายเงินรางวัลแบบต่าง ๆ
7.1 แบบ Taylor Differential-piece-rate Plan
7.2 แบบ Gantt Task and Bonus Plan
7.3 แบบ Halsey Premium Plan
7.4 แบบ Bedaux Plan
7.5 แบบ Rowan Plan
8. การจ่ายเงินจูงใจแบบกลุ่ม
9. ระยะเวลาของการจ่ายเงินรางวัล
10. งานซึ่งมีเวลาของเครื่องจักรเกี่ยวข้อง
11. แผนการจ่ายเงินจูงใจโดยใช้ฐานหลายตัว
11.1 คุณภาพ (Quality)
11.2 การใช้ประโยชน์จากวัสดุ (Material Utilization)
11.3 การใช้ประโยชน์ของเครื่องจักร (Machine Utilization)
11.4 การปฏิบัติงานของคนงาน (Employee Merit)
12.ปัญหาในการใช้ระบบการจ่ายเงินจูงใจ
แบบฝึกหัดบทที่ 22
ภาคผนวก
ตารางที่ 1 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน
ตารางที่ 2 การแจกแจงค่า
ตารางที่ 3 ตารางเลขสุ่ม -1
ตารางที่ 4 ค่าตัวคูณต่าง ๆ สำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภาพ
ตารางที่ 5 ค่าเผื่อสำหรับความเมื่อยล้า
ตารางที่ 6 ค่าเผื่อสำหรับการพักผ่อน
This website uses cookies (Learn more) and has a privacy policy (Learn more).